Kata Tukas คำบุพบท


Kata Tugas (คำบุพบท)

คำบุพบท คือ กลุ่มที่มีบทบาทต่างๆในประโยคโดยไม่สามารถจัดคำเหล่านี้ให้อยู่ในกลุ่มของคำนาม คำกริยา หรือคำคุณศัพท์ ทำหน้าที่ๆสำคัญในภาษามลายู
คำบุพบทสามรถแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ และ 14 ชนิดย่อ

(1). คำเชื่อมประโยค (Kata penyambung ayat)
        a. คำเชื่อม (kata hubung)
 (2). คำที่ปรากฏหน้าอนุประโยค (Kata praklausa)
        a. คำอุทาน (kata seru)
        b. คำถาม(kata tanya )
        c. คำสั่ง (kata perintah)
        d. คำตอบรับ ( kata pembenar )
        e. คำที่ปรากฏต้นประโยค (kata pangkal ayat)
(3). คำวลี (Kata prafrasa )
       a. คำช่วย (kata bantu)
       b. ความถี่ (kata penguat)
       c. การเน้นย้ำ (kata penegas)
       d. การปฏิเสธ (kata nafi)
       e. Pemeri
       f. คำบุพบท (kata sendi nama)
       g. ทิศทาง (kata arah)
       h. จำนวนนับ (kata bilangan)

                 
 (1). คำเชื่อมประโยค (Kata penyambung ayat)
       คือ  คำที่มีหน้าที่เชื่อมประโยค 2 ประโยค หรือ หลายประโยค (คำเชื่อม)
    1.1 คำเชื่อม (kata hubnh gabungan )
           คำเชื่อมที่ทำหน้าที่เชื่อม 2  ประโยคกลายมาเป็นประโยครวม
    ตัวอย่าง Contoh
Kata คำ
Maksut ความหมาย
atau
หรือ
dan
และ
kemudian
ต่อมา
tetapi
แต่

   1.2 คำเชื่อมแทรก (kata hubung pancangan) แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
         1.2.1 คำเชื่อมแทรกหรือคำประกอบ (kata hubung pancangan atau kata komplemen)
         ตัวอย่าง contoh 
Kata( คำ)
Maksut (ความหมาย)
Untuk
เพื่อ
bahawa
ที่

        1.2.2 คำเชื่อมแทรกหรือคำขยาย (kata hubung pancangan atau keterangan)
         ตัวอย่าง  Contoh
Kata( คำ)
Maksut (ความหมาย)
Agar
หวังว่า
andai
คาดว่า
Hingga
จนกระทั่ง
Kalua
หาก
ketika
ในขณะ

            
        1.2.3 คำเชื่อมแทรกหรือคำที่ใช้เชื่อมประโยคย่อยกับประโยคหลัก (kata hubunh pancangan atau relatif)
        ตัวอย่าง contoh :  ที่ (yang)

(2). คำที่ปรากฏหน้าอนุประโยค (Kata praklausa)
     a. คำอุทาน (kata seru)
       ตัวอย่าง contoh         Oh, wahai, eh, cis

    b. คำถาม (kata tanya ) คำที่ใช้ในการตั้งคำถาม เช่น" kah"
       ตัวอย่าง contoh :
Kata( คำ)
Maksut (ความหมาย)
Berapa
เท่าไร
bila
เมื่อไร
Bagaimana
อย่างไร
mengapa
ทำไม

                c. คำสั่ง (kata perintah) คำที่ทำหน้าที่ ห้าม , เชิญ, ขอร้อง, ความหวัง
       ตัวอย่างคำ contoh :
Kata( คำ)
Maksut (ความหมาย)
Jangan
อย่า
Minta
ขอร้อง
Semoga
หวังว่า
sila
เชิญ

    d. การตอบรับ (kata pembenar) คำที่หน้าที่อธิบายเกี่ยวกับเรื่องราว
       ตัวอย่างคำ contoh ;
                                    ถูกต้อง (betul), ใช่(sungguh)
   e. คำที่ปรากฏต้นประโยค (kata pangkal ayat)
       ตัวอย่าง contoh :
Kata( คำ)
Maksut (ความหมาย)
Apapun
สำหรับ
Alkisah
กาลครั้งหนึ่ง
Arakian
เมื่อ
maka
แล้วก็

(3). คำวลี (Kata prafrasa )
     a. คำช่วย(kata bantu) ใช้อธิบายกริยาวลี วิเศษวลี บุพบทวลี สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
 1. กริยาช่วยบ่งบอกถึงเวลา (kata bantu aspek) ทำหน้าชี้ถึงความแตกต่างของเวลา
    ตัวอย่าง Contoh :      เคย(pernah), แล้ว (sudah)    = อดีต (masa lampau)
                              กำลัง (sedang)                      = ปัจจุบัน (masa kini)
                              ยัง(belum), จะ (akan )          = อนาคต (masa akan datang)
 2. กริยาช่วยบ่งบอกถึงความรู้สึก (kata bantu ragam)
    ตัวอย่าง Contoh :
                ต้องการ (hendak) , สามารถ(dapat), ควรจะ(harus)
  
     b. คำบอกความถี่ (kata penguat) คำที่ทำหน้าที่เสริมความหมายในคำคุณศัพท์
สามารถแบ่งออกเป็น 3 ชนิด
            a.คำที่ปรากฏข้างหน้า (kata penguat hadapan)
     ตัวอย่าง Contoh : 
                            ค่อนข้าง (agak), เกินไป(terlalu)
          
 b. คำที่ปรากฏหลังคำคุณศัพท์ (kata penguat belakang)
      ตัวอย่าง Contoh :
                               ถูกต้อง(benar), จัง/ครั้งเดียว(sekali)
            c. คำที่ปรากฏข้างหน้า,ข้างหลัง ได้หมด (kata penguat bebas)
      ตัวอย่าง Contoh :  
                              มาก(amat), จริง(sungguh)
     c. เน้นย้ำ (Kata penegas) คำที่ทำหน้าที่เน้นย้ำ เพื่อประโยค
           ตัวอย่าง Contoh :  
                             -kah, -tah, -lah

     d.คำปฏิเสธ (Kata nafi) คำที่ทำหน้าที่ปฏิเสธใน คำนามวลี , กริยาวลี
        ตัวอย่าง Contoh :
                             ไม่ใช่ (bukan/tidak)
    e. Kata pemeri อธิบายคำที่ปรากฏข้างหลัง หรือเพื่ออธิบายเพิ่มเติม
          ตัวอย่าง Contoh :
                            (ialah ), ใช้หน้าคำนาม /  (adalah), ใช้หน้าคำคุณศัพท์, คำวิเศษ, คำบุพบท
     f. คำบุพบท (Kata sendi nama ) คำที่ปรากฏข้างหน้านาม
            ตัวอย่าง Contoh :   
                             จะ(akan), ระหว่าง (antara), สำหรับ(bagai), ใน(dalam), โดย(oleh), เกี่ยวกับ(tentang), เพื่อ (untuk)

      g . คำบอกทิศทาง( Kata arah) คำที่หน้าที่เพื่อชี้ทิศทาง
            ตัวอย่าง Contoh :  ตะวัน(barat), ใต้(awah), ข้างหน้า(hadapan), มุม (penjuru)

      h. คำจำนวนนับ(Kata bilangan) คำที่ทำหน้าที่นับจำนวนนับที่แน่นอนและไม่แน่นอน
สามารถจำแนกออกเป็น 5 ประเภท
             a. จำนวนนับที่แน่นอน(kata bilangan tentu)
                  ตัวอย่าง Contoh :   หนึ่ง(satu), สอง(dua), สาม(tiga
             b. จำนวนนับที่ไม่แน่นอน( kata bilangan tak tentu)
                  ตัวอย่าง Contoh :     ส่วนใหญ่ (para), ทั้งหมด(semua), ทั้งหลาย(seluruh)
             c. จำนวนนับรวม(katabilangan himpunan)
                ตัวอย่าง Contoh :    ทั้งสอง (kedua-dua)
             d. จำนวนนับที่แยก(kata bilangan pisahan)
                 ตัวอย่าง Contoh :    ทุกๆ(tiap-tiap), แตกต่าง(mading-masing)
            e. เศษส่วน(kata bilangan pecahan)
                ตัวอย่าง Contoh :    ครึ่ง(setengah), ส่วนหนึ่ง(sebahagian), เศษสองส่วนห้า (dua perlima)




           
                  อ้างอิง http://www.artikelmateri.com/2016/11/kata-tugas-pengertian-jenis-macam-contoh-adalah.html
                             https://www.google.co.th/search?

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

Kata nama คำนาม

Persamaan dan perbezaan kebudayaan Thailand dan Malaysia